railov.live

Tue, 23 Nov 2021 19:53:09 +0000
  1. อปฺปมาทํ ปสํสนฺติ "บัณฑิตย่อมสรรเสริญความไม่ประมาท"
  2. พุทธศาสนสุภาษิต หมวดความไม่ประมาท

จิตที่ฝึกแล้ว นำสุขมาให้. จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา. เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็นอันต้องหวัง. ที่มาสุภาษิต มัชฌิมนิกาย มูลปณฺณาสก์ สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ. การให้ธรรมะ ย่อมชนะการให้ทั้งปวง. ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ. ความสิ้นตัณหา ย่อมชนะทุกข์ทั้งปวง. วิเจยฺย ทานํ สุคตปฺปสตฺตํ. การเลือกให้ พระสุคตทรงสรรเสริญ. พาลา หเว นปฺปสํสนฺติ ทานํ. คนพาลเท่านั้น ไม่สรรเสริญทาน. อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก. การกู้หนี้ เป็นทุกข์ในโลก. ที่มาสุภาษิต อังคุตฺตรนิกาย ฉักกนิบาต ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา. เหย้าเรือนที่ปกครองไม่ดี นำทุกข์มาให้ ที่มาสุภาษิต ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท

อปฺปมาทํ ปสํสนฺติ "บัณฑิตย่อมสรรเสริญความไม่ประมาท"

  • บัณฑิต ย่อม สรรเสริญ ความ ไม่ ประมาท karaoke
  • บัณฑิต ย่อม สรรเสริญ ความ ไม่ ประมาท pantip
  • ธรรมบท 610325 บัณฑิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญ ความไม่ประมาท | คำคม, คำคมสร้างแรงบันดาลใจ, ปรัชญา
  • บัญชีคำพื้นฐาน โรงเรียนเทศบาลวัดภูผาภิมุข
  • น้ํา พริก แม่ เล็ก สุบิน
  • เครื่อง ดูด ฝุ่น มือ จับ
  • La nuit de l homme ราคา 2
  • เช็ค ตั๋ว เครื่องบิน ไป เชียงราย
  • ปั้มบน125 ราคาถูก ซื้อออนไลน์ที่ Lazada.co.th
  • ส เตอร์ แหวน เลื่อย โซ่
  • โรงเรียน บ้านโป่ง สะ เก็ ต
  • ทางแห่งความดี 2 l 7 l บัณฑิตสรรเสริญความไม่ประมาท ท้าวสักกะ l มฆวะ - YouTube

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๑ - หน้าที่ 217 คาถาธรรมบท อัปปมาทวรรค * ที่ ๒ ว่าด้วยความไม่ประมาทและความประมาท [๑๒] ๑. ความไม่ประมาทเป็นเครื่องถึงอมตะ ความ ประมาทเป็นทางแห่งมัจจุ ผู้ไม่ประมาทแล้วชื่อว่า ย่อมไม่ตาย ผู้ประมาทแล้ว ผู้นั้นย่อมเป็นเหมือน คนตายแล้ว บัณฑิตรู้ความนั่นโดยแปลกกันแล้ว (ตั้งอยู่) ในความไม่ประมาท บันเทิงอยู่ในความไม่ประมาท ยินดีในธรรมเป็นที่โคจรของพระอริยะ ทั้งหลาย บัณฑิตผู้ไม่ประมาทเหล่านั้น มีความเพ่ง มีความเพียรเป็นไปติดต่อ บากบั่นมั่นเป็นนิตย์ เป็นนักปราชญ์ ย่อมถูกต้องพระนิพพาน อันเป็นแดน เกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยม. ๒. ยศย่อมเจริญโดยยิ่งแก่คนผู้มีความขยัน มีสติ มีการงานสะอาด มีปกติใคร่ครวญแล้วจึงทำ สำรวมแล้ว เลี้ยงชีพโดยธรรม และไม่ประมาท. ๓. ผู้มีปัญญา พึงทำเกาะ (ที่พึ่ง) ที่ห้วงน้ำ ท่วมทับไม่ได้ ด้วยความหมั่น ด้วยความไม่ประมาท ด้วยความระวัง และด้วยความฝึก. ๔. พวกชนพาลผู้มีปัญญาทราม ย่อมประกอบ เนืองๆ ซึ่งความประมาท ส่วนผู้มีปัญญาย่อมรักษาความไม่ประมาทได้ เหมือนทรัพย์อันประเสริฐ ท่าน ทั้งหลาย อย่าตามประกอบความประมาท อย่าตาม ประกอบความเชยชิด ด้วยความยินดีในกาม เพราะ ว่าผู้ไม่ประมาทแล้ว เพ่งพินิจอยู่ ย่อมบรรลุสุขอัน ไพบูลย์.

๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท. ๒๙. อปฺปมาโท อมตํปทํ. ความไม่ประมาท เป็นทางไม่ตาย. ขุ. ธ. ๒๕/ ๑๘. ขุ. ชา. ตึส. ๒๗/ ๕๒๔. ๓๐. อปฺปมาทญฺจ เมธาวี ธนํ เสฏฺฐํว รกฺขติ. ปราชญ์ย่อมรักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนทรัพย์ประเสริฐสุด. ม. ม. ๑๓/ ๔๘๘. สํ. ส. ๑๕/ ๓๖. เถร. ๒๖/ ๓๙๐. ๓๑. อปฺปมาทํ ปสํสนฺติ. บัณฑิตย่อมสรรเสริญความไม่ประมาท. สํ. ๑๕/ ๑๒๖. องฺ. ปญฺจก. ๒๒/ ๕๓. ๒๕/ ๑๙. อิติ. ๒๕/ ๒๔๒. ๓๒. อปฺปมาเท ปโมทนฺติ. บัณฑิตย่อมบันเทิงในความไม่ประมาท. ขุ. ๒๕/ ๑๘. ๓๓. อปฺปมตฺตา น มียนฺติ. ผู้ไม่ประมาท ย่อมไม่ตาย. ๓๔. อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ วิปุลํ สุขํ. ผู้ไม่ประมาทพินิจอยู่ ย่อมถึงสุขอันไพบูลย์. ๓๕. อปฺปมตฺโต อุโภ อตฺเถ อธิคฺคณหาติ ปณฺฑิโต. บัณฑิตผู้ไม่ประมาท ย่อมได้รับประโยชน์ทั้งสอง. สํ. ๒๕/ ๒๔๒. ๓๖. อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ. ท่านทั้งหลายจงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม. ที. มหา. ๑๐/ ๑๘๐. ๑๕/ ๒๓๑. ๓๗. อปฺปมาทรตา โหถ. ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ยินดีในความไม่ประมาท. ขุ. ๒๕/ ๕๘. อปฺปมตฺโต ปมตฺเตสุ สุตฺเตสุ พหุชาคโร อพลสฺสํว สีฆสฺโส หิตฺวา ยาติ สุเมธโส. คนมีปัญญาดี ไม่ประมาทในเมื่อผู้อื่นประมาท มักตื่นในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้ง ( คนโง่) เหมือนม้าฝีเท้าเร็ว ทิ้งม้าไม่มีกำลังไปฉะนั้น.

พุทธศาสนสุภาษิต หมวดความไม่ประมาท

( พุทฺธ) ขุ. ๒๕/ ๑๘, ๑๙. อุฏฺฐานวโต สติมโต สุจิกมฺมสฺส นิสมฺมการิโน สญฺ ตสฺส จ ธมฺมชีวิโน อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒติ. ยศย่อมเจริญ แก่ผู้มีความหมั่น มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วทำ ระวังดีแล้ว เป็นอยู่โดยธรรม และไม่ประมาท. ( พุทฺธ) ขุ. ๒๕/ ๑๘. มา ปมาทมนุญฺเชก มา กามรติสนฺถวํ อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ ปรมํ สุขํ. อย่ามัวแต่ประมาท อย่ามัวแต่สนิทชิดชอบในกาม เพราะผู้ไม่ประมาท พิจารณาอยู่ ย่อมถึงบรมสุข. ( พุทธ) สํ. ๑๕/ ๓๖. อปฺปมตฺตา สตีมนฺโต สุสีลา โหถ ภิกฺขโว สุสมาหิตสงฺกปฺปา สจิตฺตมนุรกฺขถ. ภิกษุทั้งหลาย! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มีสติ มีศีลดีงาม ตั้งความดำริไว้ให้ดี คอยรักษาจิตของตน. ( พุทฺธ) ที. มหา ๑๐/ ๑๔๒. อปฺปมาทรตา โหถ สจิตฺตมนุกฺขถ ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโนว กุญฺชโร. ท่านทั้งหลาย จงยินดีในความไม่ประมาท คอยรักษาจิตของตน, จงถอนตนขึ้นจากหล่ม เหมือนช้างที่ตกหล่ม ถอนตนขึ้นฉะนั้น. ( พุทฺธ) ขุ. ๒๕/ ๕๘. อปฺปมาทรโต ภิกฺขุ ปมาเท ภยทสฺสิ วา สญฺโญชนํ อณุํ ถูลํ ฑหํ อคฺคีว คจฺฉติ. ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ย่อมเผาสังโยชน์น้อยใหญ่ไป เหมือนไฟไหม้เชื้อน้อยใหญ่ไปฉะนั้น.

ธรรมบท 610325 บัณฑิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญ ความไม่ประมาท | คำคม, คำคมสร้างแรงบันดาลใจ, ปรัชญา

สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย. ความสั่งสมขึ้นซึ่งบุญ นำสุขมาให้. ขุ. ธ. ๒๕ / ๓๐ อตฺตาหิ อตฺตโน นาโถ. ตนแล เป็นที่พึ่งของตน. ที่มาของสุภาษิต ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภิ. ผู้มีตนฝึกดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่ง ซึ่งได้โดยยาก. ที่มาสุภาษิต ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท อปฺปมาโท อมตํ ปทํ. ความไม่ประมาท เป็นทางไม่ตาย. อปฺปมาทํ ปสํสนฺติ. บัณฑิตย่อมสรรเสริญ ความไม่ประมาท. ที่มาสุภาษิต สังยุตฺตนิกาย สคาถวรรค กมฺมุนา วตฺตติ โลโก. สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม. กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ความโลภเป้นอันตราย แห่งธรรมทั้งหลาย. ที่มาสุภาษิต ขุทฺทกนิกาย สคาถวรรค อิจฺฉา นรํ ปริกปนฺโถ. ความอยากย่อมชักพาคนไปต่างๆ. โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ. ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยู่เป็นสุข. โกธํ ทเมน อุจฺฉินฺเท. พึงตัดความโกรธด้วยความข่มใจ. ที่มาสุภาษิต อังคุตฺตรนิกาย สัตตกนิบาต ขนฺติ ปรมํ ตโป ตีติกฺขา. ขันติคือความอดทนเป็นตบะ อย่างยิ่ง. ที่มาสุภาษิต ทีฆนิกาย มหาวรรค ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท ขนฺติ หิตสุขาวหา. ความอดทน นำมาซึ่งประโยชน์สุข. ที่มาสุภาษิต สวดมนต์ ฉบับหลวง จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ.

พระไตรปิฎก ๗.

รถ 6 ล้อ มือ สอง ขอนแก่น, 2024